วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัย




     การวิจัยครั้งนี้  มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมัวยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการสาน ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการสาน       กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นเด็กนักเรียนชาย -หญิง จำนวน30คน อายุ4-5ปีที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่1ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2553โรงเรียนวัดนิมารนรดี เขตภาษีเจริญ  กรุงเทพมหานคร  สังกัดกรุงเทพมหานครด้วยวิธีการเลือกที่เจอะจง  ผู้วิจัยดำเนินการทดลองด้วยตนเอง  โดยทำการวิจัยเป็นระยะ8สัปดาห์ สัปดาห์ละ4วัน วันละ50นาทีรวมทั้งหมด32ครั้ง        
     เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้  คือแบบทดสอบพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ.92การจัดกิจกรรมการสานซึ่งใช้วัสดุต่างๆ จำนวน32 กิจกรรม  และแบบทดสอบโดยผู้วิจัยแบบแผนการวิจัย  เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบ One - GroupPretest-PosttesdDesign และวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ t-test for Dependent Samples
     ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองที่มุ่งศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการสานเพื่อการเรียนรู้อันเป็นแนวทางให้ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยได้ประโยชน์ใยการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้แก่เด็กอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กต่อไป



สรุปผลการวิจัย
1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัย หลังการจัดกิจกรรมสาน สูงกว่า ก่อนการจัดกิจกรรมการสานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 
2. เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนการทดลอง ทั้งโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับพอใช้ หลังการจัดกิจกรรมการสาน เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งรายรวมและรายด้าน อยู่ในระดับดี       

วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่16

อาจารย์ทนทนากับนักศึกษา 



         

          1. เรื่องเสื้อสูท
          2. มีการสอบนอกตาราง  วันที่ 26 ก.พ. 2556
          3. มีงานกีฬาสี - ปัจฉิม  วันที่ 2 - 3 มี.ค. 2556
          4. ไปศึกษาดูงานที่หนองคาย - ลาว  วันที่ 6 - 8 มี.ค. 2556
          5. มาตราฐาน  สาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
          6. บล็อก
          7. อาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละ1แผ่น 

อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนว่า  ได้ความรู้อะไรบ้าง   ได้ทักษะอะไรบ้างจากการเรียนวิชานี้   
และวิธีการสอนในความเข้าใจของเราคืออะไร

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่15



อาจารย์สอบสอนเป็นกลุ่มต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว






         อาจารย์แนะนำติชมการสอนของนักศึกษาแต่ละคน  
  และให้กลุ่มที่ยังไม่ได้สอบไปปรับปรุงแก้ไขให้ดี
         อาจารย์พูดถึงงานวันพุธเกี่ยวกับการแสดงต่างๆ 
  ในเรื่องของความพร้อมในการแสดง   ชุดการแสดงมีอะไรบ้าง  

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่14



อาจารย์พูดถึงเรื่องกิจกรรมการแสดงงานวันพุธ 
อาจารย์เรียกดูการแสดงต่างๆ   เพื่อดูความคืบหน้าและความพร้อมในการแสดง











อจารย์สอบสอนของแต่ละกลุ่ม
          งานที่ได้รับมอบหมาย
-   อาจารย์ให้สรุปมาตรฐานเป็น Mind Map  ทำด้วยโปรแกมแล้วใส่ในบล็อก

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่13



อาจารย์พูดถึงเรื่องงานกีฬาสีของเอก และงานเลี้ยงส่งรุ่นพี่ปี5
           -กิจกรรมการแสดงวันพุธ
               แล้วให้ทุกคนช่วยกันคิดการแสดงต่างๆ
           - แบ่งหน้าที่การทำงานของแต่ละคน
                              

-จัดกิจกรรมในวันพุธที่6 กุมภาพันธ์ 2556  

ปี3 มีทั้งหมด 66 คน

-รำ              =      นางสาว สว่างจิต คำชมภู (เชิญพระขวัญ) (1คน)  
-ร้องเพลง     =นางสาว รัตติยา ตั่งอั่น (เพลงหนูไม่รู้) (1คน)  
-โฆษณา       = นางสาวนิศาชล กุลอัก เเละนางสาว ละมัย ใจดี (คน2) 
-พิธีกร         =นางสาวรุ่งนภา คำจันทร์ทา เเละนางสาว ปราณิตา นะอิบราเฮม (2คน)  
-การเเสดงโชว์ 
-ลิปซิ๊งเพลง   = นางสาวจุฑามาศ สังข์ทอง เเละนางสาวนีรชา บัวสุวรรณ (2คน)  
-เต้นประกอบเพลง = นางสาวพลอยปภัส ภักดี นางสาวเกตุวดี วงค์เเพทย์ และนางสาวมาลินี ทองพันชัง (3คน)  
-ละครใบ้       = นางสาวอัจฉรา สุขประเสริฐ เเละ นางสาวจันทร์สุดา เทียมโฮม (2คน)  
-ตลก            = นางสาวณัฐชา พุ่งพะเนิน นางสาวดาราวรรณ นาวงศ์ นางสาวชวนชม ด่านเเก้ว (3คน)  
-ผู้กำกับหน้าม้า = นางสาวพวงทอง ก่อยิ่ง นางสาวนฏา หาญยุทธ (2คน)  
-หน้าม้า         = สมาชิกที่เหลือ (48คน)


 3. อาจารย์นำหัวข้อที่เป็นการแสดงวันพุธมาประยุกต์
ให้เป็นการสอนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่12

อาจารย์ให้ไปหางานวิจัยที่เป็นวิจัยที่มี5บท  อ่านทำความเข้าใจแล้วสรุปสั้นๆลงในบล็อกและลิงค์งานวิจัยใส่ด้วย
อาจารย์พูดถึงเรื่องบล็อก   การทำบล็อก   การตกแต่งบล็อก 


อาจารย์ให้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของแต่กลุ่มว่ามีข้อดีข้อเสียอะไรบ้าง


อาจารย์พูดเรื่องมาตราฐานคณิตศาสตร์   6 สาระ  6 มาตราฐาน
อาจารย์พูดถึงเรื่องการทำสื่อคณิตศาสตร์   ตัวอย่างสื่อคณิตศาสตร์   

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่11

อาจารย์ให้ไปหางานวิจัยที่เป็นวิจัยที่มี5บท  อ่านทำความเข้าใจแล้วสรุปสั้นๆลงในบล็อกและลิงค์งานวิจัยใส่ด้วย
อาจารย์พูดถึงเรื่องบล็อก   การทำบล็อก   การตกแต่งบล็อก 


อาจารย์ให้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของแต่กลุ่มว่ามีข้อดีข้อเสียอะไรบ้าง
 สอบสอนของกลุ่มเเรก
หน่วย ขนมไทย
-การนำเข้าสู่เนื้อหาที่จะสอนเช่น 
-เด็กๆเคยรับประทานขนมอะไรบ้าง  
-ขนมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้าง ไหนบอกคุณครูซิค่ะ เเละเด็กๆ รู้จักขนมไทยไหมค่ะ
-วันนี้คุณครูมีขนมไทยมาเด็กๆอยากดูไหมค่ะ




อาจารย์พูดเรื่องมาตราฐานคณิตศาสตร์   6 สาระ  6 มาตราฐาน
อาจารย์พูดถึงเรื่องการทำสื่อคณิตศาสตร์   ตัวอย่างสื่อคณิตศาสตร์



-หมายเหตุ :
 เนื่องจากวันนี้อาจารย์มีธุระ ด่วน จึงนำเสนองานได้ไม่ครบเเละได้นำเสนองานการสอนเเต่ล่ะหน่วยในสัปดาห์ต่อไป

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่10

อาจารย์ให้นักศึกษา
        -ส่งงานดอกไม้จากกระเเกนกระดาษทิชชู

        -เส้นผ่าศูนย์กลาง มี3ขนาด

        -มี3 สี คือ สีชมพู สีส้ม เเละสีเหลือง

อาจารย์พูดคุยเรื่องมาตราฐานคณิตศาสตร์สาระและมาตรฐาน
-สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
      มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก รวมทั้งเป็นแนวทางในการกำกับ ตรวจสอบ และประเมินผล มาตรฐานการเรียนรู้จัดให้อยู่ภายใต้สาระหลัก ดังนี้
สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ 
 มาตรฐานค.ป. 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน และการใช้จำนวนในชีวิตจริง      

สาระที่ 2 : การวัด 
              มาตรฐาน ค.ป. 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา      
สาระที่ 3 : เรขาคณิต 
               มาตรฐาน ค.ป. 3.1 : รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง มาตรฐาน ค.ป. 3.2 : รู้จัก จำแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 : พีชคณิต 
               มาตรฐาน ค.ป. 4.1 : เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์      
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

       มาตรฐาน ค.ป. 5.1 : รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอ    

สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ครูควรคอยสอดแทรกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตามความเหมาะสมกับระดับอายุ

       สาระคณิตศาสตร์
-การนับ  -นับ  (เศษส่วน ทั้งหมดเท่าไหร่? )
-ตัวเลข  -แทนค่าเป็นตัวเลขโดยเขียนหรือเอาตัวเลขมาติดไว้
-จัดประเภท  -หาเกณฑ์ เช่น ที่มีขนาดเท่ากัน
-จัดลำดับ  -ตำเเหน่ง
-เซต  -ใหญ่ กลาง เล็ก เท่ากับ 1เซต
-ตามแบบ  -วาง ใหญ่กลางเล็ก แล้วให้ทำต่อตามเเบบ
-อนุรักษ์  -วางเยื้องๆกันใหเด็กดู
-กราฟ  -เด็กชอบขนาดไหนเยอะ ชอบขนาดไหนน้อย   
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี (สสวท) มาตรฐานการเรียนรู้เเละตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ปฐมวัย
สาระที่1: จำนวนเเละการดำเนินการ

 - จำนวน คือ ค่า / การนับ / ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์มากำกับ
-การดำเนินการ  เข้าใจถึงความหลากหลายของการเเสดงจำนวนเเละการใช้จำนวนในชีวิตจริง
สาระที่2: การวัด
"เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์"
ปริมาณ, ระยะ, ตลับเมตร, ปรอท
1.เครื่องมือในการวัด 
2.ค่าหรือปริมาณ
สาระที่3: เรขาคณิตE
รูปทรงต่างๆ
การบอกตำเเหน่ง: ซ้าย ขวา หน้า หลัง บน ล่าง เฉียง ขอบๆ
ทิศทาง: ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะทาง: ปริมาณ/ค่า/ตัวเลข/หน่วย/เครื่องมือ
สาระที่4:พีชคณิต
-เข้าใจเเบบรูปเเละความสัมพันธ์
-เเบบรูป หรือ เซต ชุด 
-ความสัมพันธ์สองเเกน
สาระที่5: การวิเคราะห์ข้อมูลเเละความน่าจะเป็น
วิเคราะห์ = สถิติ  
ความน่าจะเป็น = กราฟ
สาระที่6: ทักษะเเละกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การเเก้ปัญหา)
การเอาไปประยุกต์ใช้หรือเชื่อมโยงกับวิชาอื่น 
สื่อที่ทำ 
-สื่อการสอน
-สื่อที่เด็กเล่นเอง 
งานที่ได้รับมอบหมาย
     อาจารย์ ให้เตรียมสาธิตการสอนตามหน่วยการเรียนที่ตนได้รับมอบหมาย
โดยกลุ่มดิฉันสอนหน่วยผลไม้

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่9

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน
*เนื่องจากเป็นวันหยุดปีใหม่

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่8

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน
*เนื่องจากมีการาอบกลางภาคของมหาวิทยาลัย

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่7

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน
*หมายเหตุ  อาจารย์ให้ทำงานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จ

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่6



อาจารย์สอนเรื่อง
-การศึกษาดูงานต่างจังหวัดของนักศึกษาปีที่3

-อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงานที่อาจารย์สั่ง  (แผนการจัดประสบการณ์)




-ให้ทุกคนหยิบกล่องขึ้นมาดู  โดยอาจารย์ใช้คำถามว่า    อยากให้กล่องเป็นอะไร?

                       อาจารย์ใช้คำถาม - เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร
                                                - อยากให้กล่องเป็นอะไร
                                                - จะเอากล่องไปทำอะไรได้บ้าง
อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม10คนแล้วนำกล่องของตนเองมาต่อๆกันโดยไม่ต้องปรึกษากัน
อาจารย์ให้บอกว่าแต่ละคนตอนที่ต่อกล่องคิกว่าจะต่อเป็นอะไร
ครั้งที่2อาจารย์ให้นักศึกษาปรึกษากันว่าจะสร้างเป็นรูปอะไรแล้วให้นักศึกษาลงมือทำ
-อาจารย์บอกหลักของการทำสื่อ
                        1.เราต้องมีหลักว่าจะทำอะไร
                        2.ต้องประหยัด
                        3.สื่อที่ประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาต้องใช้ได้หลายๆครั้ง
                        4.ต้องประยุกต์วัสดุต่างๆ
-อาจารย์สอนเรื่องการกำหนดสาระการเรียนรู้ต่าง
                        1.ต้องใกล้ตัวเด็ก
                        2.ต้องเป็นเรื่องที่เด็กสนใจ
                        3.ต้องมีความสัมพันธ์กับเด็ก
                        4.ต้องเชื่อมโยงกับหลักสูตร
-อาจารย์ใช้คำถามกับนักศึกษาว่าการต่อกล่องเด็กได้อะไรบ้าง
ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

                        1.ได้การแก้ปัญหา
                        2.ได้การคิด
                               2.1คิดสร้างสรรค์
                               2.2คิดจินตนาการ
                         3.การเชื่อมโยง
สรุป 

  
หน่วยเรื่อง กล่อง
เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์
 
1.รูปทรง
2.ขนาน
3.พื้นที่
4.ประเภทของกล่อง
5.การวัด  -กล่องเป็นเครื่องมือการวัด
6.จำนวน
7.เปรียบเทียบขนาด
8.จับคู่  -รูปทรงที่เหมือนกัน ขนาดเท่ากัน
9.จัดประเภท   -กล่องที่มีสีเเดงเเละไม่มีสีเเดง
10.ทำตามเเบบ
11.เซต  -เซตของขวัญปีใหม่
12.เศษส่วน
13.การอนุรักษ์   -จับออกเป็นคู่ 1 ต่อ 1
-อาจารย์มอบหมายงานให้นักศึกษา   ให้ทุกคน  นำแกนทิชชูมาตัดเป็น 3 ชิ้น  แล้วห่อด้วยกระดาษสี 3สี 
(สีเหลือง สีส้ม สีชมพู)  และตัดกระดาษแข็งเป็นรูปดอกไม้มาติดที่แกนทิชชูแล้วเจาะรู
นำมาในอาทิตย์ต่อไป











บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่5

อาจารย์สอนเรื่องการนำเสนอขอบข่ายคณิตศาสตร์ที่เป็นความเรียง


-เพื่อนๆออกมานำเสนอขอบข่ายคณิตศาสตร์ที่เป็นความเรียงโดยตามลำดับกลุ่ม


-20 นาที  ของการเสริมประสบการณ์ให้บรูณาการคณิตศาสตร์เข้าไป  ตัวอย่างเช่น

                                 เราจะสอนเรื่อง...ไข่

                      วันจันทร์          เราก็สอนเรื่อง...ชนิดของไข่
                      วันอังคาร        เราสอนเรื่อง...ลักษณะ
                      วันพุธ             เราสอนเรื่อง...ประโยชน์(ตัวของมันเอง)
                      วันพฤหัสบดี     เราสอนเรื่อง...ประโยชน์(ประกอบอาหาร)
                      วันศุกร์            เราสอนเรื่อง...ข้อควรระวังของไข่
                                                               การขยายพันธุ์ไข่
                                                               การดูแลรักษาไข่
การนำเสนอข้อมูล
-พัฒนาการ    คือ  การเปลี่ยนแปลงตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง

                                      เด็กแรกเกิด - 2ปี  เด็กใช้ประสาทสัมผัสกระทำต่อวัตถุ  (ต้องใช้ของจริง)

                                      เด็ก4 - 6 ปี         เด็กเริ่มใช้เหตุผล (ขั้นอนุรักษ์) พูดเป็นประโยค                                                   (ใช้เหตุผล  มีประสบการณ์บ้างแล้ว) 


                              

 -งานที่ได้รับมอบหมาย
                               - อาจารย์ให้แต่ละคนในกลุ่มเขียนแผนของตนเอง  1วัน
                               - อาจารย์ให้นักศึกษาหากล่องมาคนละ 1 กล่อง